[x] ปิดหน้าต่างนี้
KMOBECMAXSITE 1.2.1
 


งานนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา
เรื่อง : Affective domain สู่พุทธศาสนา เพื่อความ อิสระ สุข สงบ นิพาน
บทความ



 Affective  domain  สู่พุทธศาสนา  เพื่อความ  อิสระ สุข สงบ    นิพาน                                                 ผู้ปฏิบัติ จะต้องมีศรัทธาเพื่อนเป็นพลังขับเคลื่อนจิตสู่เป้าหมาย  ศีลมิให้เกิดสายกรรมเส้นใหม่ผูกรัดจิต  มีความละอายไม่กล้าสร้างโยงใยกรรมใหม่ เกรงกลัวต่อบาปมิให้เกิดโยงใยกรรม เลือกกรองรับฟังสิ่งที่ดีด้วยปัญญาและมีการให้ด้วยจิตเมตตากรุณาเพื่อลด และตัดโยงใยกรรมสู่ความอิสระ สุข สงบ นิพาน เมื่อมีคุณสมบัติแล้วมาปฏิบัติ สมถกรรมฐานพิจารณาความจริงในร่างกาย เมื่อตายลงร่างกายจะสลายเป็นดิน น้ำ ลม ไฟ เป็นอาหารพืช พืชเป็นอาหารสัตว์ คนกินทั้งพืชและสัตว์ เป็นร่างกายในคนรุ่นต่อไป  ร่างกายเราจึงเป็นของกลางของโลกหมุนเวียนตามกฎไตรลักษณ์  อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อจิตไม่ติดยึดร่างกายของตัวเอง (ไม่มีตัวกู) เมื่อไม่มีตัวกูเป็นภาระทำให้จิตมีพลังในกำลังความคิด(ระดับฌาน) ต่อมาพิจารณาความคิดเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตามกฎไตรลักษณ์  เป็นการกำจัดขยะความคิด จนจิตรู้ทันกฎไตรลักษณ์  อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา    จนศูนย์สิ้นขยะความคิดของจิต จิตสะอาดนิ่ง ไม่มีขยะความคิด ในเรื่องต่างๆ อีกต่อ  เป็นอยู่ตามธรรมชาติ อย่าง อิสระ สุข สงบ นิพาน 



ดาวน์โหลดไฟล์แนบ

ผู้เขียน : ประเทือง วงศ์ประเสริฐ
หน่วยงาน : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39
พฤหัสบดี ที่ 30 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2559
เข้าชม : 2348
4 stars เฉลี่ย : 4 จาก 1 ครั้ง.


งานนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      Affective domain สู่พุทธศาสนา เพื่อความ อิสระ สุข สงบ นิพาน 30 / มิ.ย. / 2559
      นโยบายการศึกษา 60 รัฐบาล (พ.ศ.2475-2554) 30 / ก.ค. / 2556
      การแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับมัธยมศึกษา ประจำปี ๒๕๕๖ (ครั้งที่ ๑๐) 18 / ก.ค. / 2556


เชิญร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยสมัครเป็นสมาชิกของศูนย์จัดการความรู้
สิทธิของสมาชิก สามารถบันทึกขุมความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และดาวน์โหลดได้
คลิกที่นี่สมัครสมาชิก
ศูนย์จัดการความรู้ สพม.๓๙ พิษณุโลก อุตรดิตถ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๙ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ตำบลท่าทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐
โทร. ๐๕๕-๒๖๗-๒๓๕-๖ โทรสาร ๐๕๕-๒๖๗-๒๓๔